Script

  1. (ผุ้นำเสนอ: โม) สวัสดีค่ะ วันนี้พวกเราจะมานำเสนอเรื่อง วัดพระธาตุพนม มีสมาชิกดังนี้ค่ะ
    1. ด.ช.ปวีร์วัศ หาเรือนสาสน เลขที่ 1
    2. ด.ช.นพรัตน์ ถือชาติ เลขที่ 3
    3. ด.ช.ณัฐสิทธิ ทรงหมู เลขที่ 7
    4. ด.ช.ธีรภัทร อัคราวัฒนานุพงษ์ เลขที่ 16
    5. ด.ช.ภวัต ภูเกียรติขจร เลขที่ 17
    6. ด.ช.สิรวิชญ์ หิรัญกนกพันธ์ เลขที่ 21
    7. ด.ช.อานุภาพ อนุรักษ์สยา เลขที่ 22
    8. ดญ.จุฑาทิพ สุนทะวงค์ เลขที่ 23
    9. ดญ.พิมพ์ชนก เอกสุวรรณ เลขที่ 37
    10. ดญ.ธิษณา คำหาญ เลขที่ 42
  2. (ผุ้นำเสนอ: ฟู) ขั้นตอนการทำโมเดลพระธาตุพนม
    - ศึกษาหาต้นแบบต่างๆ
    - ออกแบบรูปการทำตัวองค์ประกอบธาตุ กำแพง และ ฐาน
    - ตัดโฟม องค์ประกอบธาตุ โดยใช้โฟมหนา 4 นิ้ว 2 ชิ้น กำแพงใช้โฟมหนา 1 นิ้ว กำแพงหนา 1 เซนติเมตร
    - พิมพ์ลวดลายโดยใช้กระดาษสติกเกอร์ประดับ ฐานกำแพง และนำไปติดตามแบบ
    - ชิ้นงานเสร็จสมบูรณ์
  3. (ผุ้นำเสนอ: มาร์ค) พระธาตุพนม ตั้งอยู่ในวัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร ณ ริมฝั่งแม่น้ำโขง ถนนชยางกูร บ้านธาตุพนม ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จ.นครพนม
  4. (ผุ้นำเสนอ: ทิพ) พระธาตุพนม มีลักษณะเป็นเจดีย์รูปสี่เหลี่ยมจตุรัสก่อด้วยอิฐ กว้างด้านละ 12.33 เมตร สูง 53.6 เมตร มีกำแพงล้อมองค์พระธาตุ 4 ชั้น
  5. (ผุ้นำเสนอ: แมน) ในวันเพ็ญเดือน 3 ถึง แรม 1 ค่ำ เดือน 3 ของทุกปีจะมีงานประจำปีเพื่อเป็นการนมัสการพระธาตุพนม
  6. (ผุ้นำเสนอ: หนิง) กล่าวกันว่า “พระธาตุพนม”  ถูกสร้างขึ้นมาเป็นเวลานานกว่า 2,500 ปีมาแล้ว โดยสร้างขึ้นเมื่อสมัย “อาณาจักรศรีโคตบูร” เมื่อประมาณ พ.ศ. 8
  7. (ผุ้นำเสนอ: ธี) วัตถุประสงค์ของการสร้างพระธาตุพนมนั้นคือ เพื่อบรรจุ “พระอุรังคธาตุ” หรือ “กระดูกหน้าอก” ของพระพุทธเจ้า ซึ่ง “พระมหากัสสปะ” ได้อัญเชิญมาจากประเทศอินเดีย
  8. (ผุ้นำเสนอ: บาส) โดยในชั้นแรกพระธาตุพนมถูกสร้างขึ้นนั้นมีลักษณะเป็นรูปเตาสี่เหลี่ยม มีความกว้างด้านละ 2 วา สูง 2 วา ข้างในเป็นโพรง มีประตูเปิดปิดทั้ง 4 ด้าน
  9. (ผุ้นำเสนอ: เดียร์) ต่อมาจึงได้ทีการก่อสร้างเพิ่มเติม จนมีลักษณะเป็นเจดีย์ทรงบัวเหลี่ยม และได้รับการบูรณะซ่อมแซมเรื่อยมาตามกาลเวลา
  10. (ผุ้นำเสนอ: ไนท์) จนกระทั่งเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2518 เกิดฝนตกติดต่อกันหลายวัน และมีพายุกรรโชกอย่างแรง จนทำให้พระธาตุพังทลายลงมาทั้งองค์ จึงต้องมีการบูรณะขึ้นมาใหม่ เสร็จสิ้นในปี 2522 และอยู่มาจนปัจจุบัน



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น